ตอบคำถามหน่วยที่ 5 ความหมายของซอฟต์แวร์

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของซอฟต์แวร์
2. ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่อะไร
3. จงบอกประโยชน์ของซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
4. แอสเซมบลีเป็นภาษาระดับใด และมีลักษณะอย่างไร
5. ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

23 Responses

  1. 1. ตอบ ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
    2. ตอบ 1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง
    2. จัดสรรทรัพยากรซึ่งใช้ร่วมกัน (shared resources) ความหมายของหน้าที่นี้จะเห็นได้ชัดในเครื่องระดับใหญ่ (mainframe) ซึ่ง่จะมีอุปกรณ์ต่างๆ จำพวกหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ฯลฯ ซึ่งมีสมรรถนะ หรือขนาดใหญ่ เกินความจำเป็นของงานแต่ละงาน จึงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกัน ในลักษณะของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) หน้าที่ของระบบปฏิบิตการ จึงต้องครอบคลุม ถึงการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้ เพื่อขจัดความขัดแย้ง โดยคำนึงถึงความยุติธรรมต่อผู้ใช้แต่ละคน และประสิทธิผลของเครื่องเป็นหลักสำคัญ
    3. ตอบ จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้
    – ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล
    4. ตอบ คือ ภาษาระดับต่ำ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน
    5. ตอบ ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมี 9 ประเภท ได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4 ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  2. 1) ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
    2) ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ข้อความหรือผลลัพธ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์
    3) ช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น
    4) ภาษาระดับต่ำ มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก
    5) แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะได้แก่
    (1) คอมไพเลอร์ (compiler)
    (2) อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

  3. 1. ตอบ ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
    2. ตอบ 1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง
    2. จัดสรรทรัพยากรซึ่งใช้ร่วมกัน (shared resources) ความหมายของหน้าที่นี้จะเห็นได้ชัดในเครื่องระดับใหญ่ (mainframe) ซึ่ง่จะมีอุปกรณ์ต่างๆ จำพวกหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ฯลฯ ซึ่งมีสมรรถนะ หรือขนาดใหญ่ เกินความจำเป็นของงานแต่ละงาน จึงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกัน ในลักษณะของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) หน้าที่ของระบบปฏิบิตการ จึงต้องครอบคลุม ถึงการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้ เพื่อขจัดความขัดแย้ง โดยคำนึงถึงความยุติธรรมต่อผู้ใช้แต่ละคน และประสิทธิผลของเครื่องเป็นหลักสำคัญ
    3. ตอบ จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้
    – ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล
    4. ตอบ คือ ภาษาระดับต่ำ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน
    5. ตอบ ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมี 9 ประเภท ได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4 ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  4. 1.ตอบ.ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงาน
    2..ตอบ.ซึ่งทำหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
    3.ตอบ.จะช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย
    4.ตอบ. ระดับต่ำแต่ยังสูงกว่าภาษาเครื่อง 1 ระดับ เป็นภาษาที่ใช้รหัสช่วยจำแทนคำสั่งภาษาครื่องซึ่งใช้ตัวเลขและเป็นภาษาที่ยาวและอ่านยากกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซี หรือภาษาเบสิก แต่ภาษาแอสเซมบลีจะทำงานได้เร็วกว่าและใช้เนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาอื่นๆ
    5.ตอบ. 6 ประเภท ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java )

  5. 1. ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    2. ระบบปฏิบัติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลีนุกซ์ เป็นต้น
    คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้หากปราศจากระบบปฏิบัติการ ซึ่งทำหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ข้อความหรือผลลัพธ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยังทำหน้าที่ประสานงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ กับตัวเครื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ว่าประเภทใดล้วนแต่ต้องทำงานบนซอฟต์แวร์ระบบทั้งสิ้น
    3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลช่วยให้ผู้ใช้ดำเนินการจัดการข้อมูลได้ง่าย และมีให้เลือกใช้ได้หลายซอฟต์แวร์ โดยเน้นให้ผู้ใช้สามารถสร้างแฟ้มข้อมูล ช่วยในการจัดเก็บ การขอดู การเรียกค้น การเพิ่มเติม การลบ การจัดเรียง และการทำรายงาน
    4. ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ำแต่ยังสูงกว่าภาษาเครื่อง 1 ระดับ เป็นภาษาที่ใช้รหัสช่วยจำแทนคำสั่งภาษาครื่องซึ่งใช้ตัวเลขและเป็นภาษาที่ยาวและอ่านยากกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซี หรือภาษาเบสิก แต่ภาษาแอสเซมบลีจะทำงานได้เร็วกว่าและใช้เนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาอื่นๆ
    5. (1) ภาษาฟอร์แทรน (2) ภาษาโคบอล (3) ภาษาเบสิก (4) ภาษาปาสคาล (5) ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    (6) ภาษาวิชวลเบสิก (7) การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ (8)ภาษาจาวา (9) ภาษาเดลไฟล์

  6. 1.ตอบ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    2.ตอบ ทำหน้าที่ประสานงานหรือกำกับดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ในการกำหนดว่าจะเอาโปรแกรมหรือข้อมูลเก็บไว้ในส่วนใดของหน่วยความจำ ดูแลการติดต่อระหว่างส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กับโปรแกรมใช้งานหรือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม การส่งสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ขึ้นไปปรากฏบนจอภาพ ควบคุมการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์
    3.ตอบ ช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย
    4.ตอบ ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ดังนั้นบางครั้งจึงเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอิงเครื่อง (machine – oriented language) ตัวอย่างของภาษาระดับต่ำได้แก่ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน
    5.ตอบ มี 7 ประเภท ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java)

  7. 1.จงบอกความหมายของซอฟต์แวร์
    ตอบ คือ การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งซอฟต์แวร์
    2. ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่อะไร
    ตอบ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ 2 หน้าที่ใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ
    1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
    2. จัดสรรทรัพยากรซึ่งใช้ร่วมกัน ความหมายของหน้าที่นี้จะเห็นได้ชัดในเครื่องระดับใหญ่ (mainframe) ซึ่งจะมีอุปกรณ์ต่างๆ จำพวกหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ฯลฯ ซึ่งมีสมรรถนะ หรือขนาดใหญ่ เกินความจำเป็นของงานแต่ละงาน จึงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกัน ในลักษณะของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) หน้าที่ของระบบปฏิบิตการ จึงต้องครอบคลุม ถึงการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้ เพื่อขจัดความขัดแย้ง โดยคำนึงถึงความยุติธรรมต่อผู้ใช้แต่ละคน และประสิทธิผลของเครื่องเป็นหลักสำคัญ

    3. จงบอกประโยชน์ของซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
    ตอบ ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้
    – ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึง
    4. ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
    ตอบ ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมี 9 ประเภท ได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4 ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  8. 1. การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งซอฟต์แวร์

    2 .
    1.สามารถควบคุมสั่งจัดวางรูปแบบเอกสารได้ใหม่ตามต้องการ
    2.ช่วยควบคุมให้แก้ไขดัดแปลงข้อความเป็นกลุ่ม
    3.ช่วยงานด้านการตรวจสอบตัวสะกด

    3. เป็นเครื่องให้บริการและดูแลคอมพิวเตอร์ที่เป็นบริวารจำนวนมากจะมีความซับซ้อนกว่าระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

    4. ภาษาแอสเซมบลี้ก็คือภาษาระดับต่ำภาษาหนึ่ง และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น

    5. 9 ประเภทได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4.ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  9. 1.ความหมายของซอฟต์แวร์ ตอบ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    2. ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่อะไร ตอบ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ 2 หน้าที่ใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ 1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง
    2. จัดสรรทรัพยากรซึ่งใช้ร่วมกัน (shared resources) ความหมายของหน้าที่นี้จะเห็นได้ชัดในเครื่องระดับใหญ่ (mainframe) ซึ่ง่จะมีอุปกรณ์ต่างๆ จำพวกหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ฯลฯ ซึ่งมีสมรรถนะ หรือขนาดใหญ่ เกินความจำเป็นของงานแต่ละงาน จึงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกัน ในลักษณะของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) หน้าที่ของระบบปฏิบิตการ จึงต้องครอบคลุม ถึงการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้ เพื่อขจัดความขัดแย้ง โดยคำนึงถึงความยุติธรรมต่อผู้ใช้แต่ละคน และประสิทธิผลของเครื่องเป็นหลักสำคัญ
    3.จงบอกประโยชน์ของซอฟแวร์จัดการฐานข้อมูล ตอบ จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้
    -ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    -ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลโดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    -เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    -นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    -ควบคุมข้อบังคับต่างๆของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล
    4.แอสเซมบลีเป็นภาษาระดับใด และมีลักษณะอย่างไร ตอบ คือ ภาษาระดับต่ำ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน
    5. ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมี 9 ประเภท ได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4 ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  10. 1 ตอบ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้วัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
    2 ตอบ ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ
    3 ตอบ ประโยชน์ของการใช้ฐานข้อมูลจะช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย เป็นต้น
    4 ตอบ ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ำแต่ยังสูงกว่าภาษาเครื่อง 1 ระดับ เป็นภาษาที่ใช้รหัสช่วยจำแทนคำสั่งภาษาครื่องซึ่งใช้ตัวเลขและเป็นภาษาที่ยาวและอ่านยากกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซี หรือภาษาเบสิก แต่ภาษาแอสเซมบลีจะทำงานได้เร็วกว่าและใช้เนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาอื่นๆ
    5 ตอบ 9 ประเภท ได้แก่ (1) ภาษาฟอร์แทรน (2) ภาษาโคบอล (3) ภาษาเบสิก (4) ภาษาปาสคาล (5) ภาษาซีและซีพลัสพลัส (6) ภาษาวิชวลเบสิก (7) การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ (8)ภาษาจาวา (9) ภาษาเดลไฟล์

  11. 1) ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม
    2) ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ ให้แสดงภาพ
    3)ช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย
    4) ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก
    5) โปรแกรมภาษาที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะได้แก่
    (1) คอมไพเลอร์ (compiler)
    (2) อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

  12. 1.ตอบ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม
    2. ตอบ ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ข้อความหรือผลลัพธ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์
    3. ตอบ ช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย เป็นต้น
    4. ตอบ เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ำ มีลักษณะเป็นภาษาที่ใช้รหัสช่วยจำแทนคำสั่งภาษาครื่องซึ่งใช้ตัวเลขและเป็นภาษาที่ยาวและอ่านยากกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซี หรือภาษาเบสิก แต่ภาษาแอสเซมบลีจะทำงานได้เร็วกว่าและใช้เนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาอื่นๆ
    5. ตอบ 9 ประเภท ได้แก่ 1. ภาษาฟอร์แทรน
    2. ภาษาโคบอล 3. ภาษาเบสิก 4. ภาษาปาสคาล
    5. ภาษาซีและซีพลัสพลัส 6. ภาษาวิชวลเบสิก
    7. การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ 8. ภาษาจาวา
    9. ภาษาเดลไฟล

  13. 1. ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)
    2.ซึ่งทำหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ข้อความหรือผลลัพธ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยังทำหน้าที่ประสานงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ กับตัวเครื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ว่าประเภทใดล้วนแต่ต้องทำงานบนซอฟต์แวร์ระบบทั้งสิ้น
    เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะไม่ทำงาน ถ้าไม่มีระบบปฏิบัติการ การเริ่มใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกครั้งจึงต้องบรรจุ (load) ระบบปฏิบัติการเข้าไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะให้เครื่องเริ่มทำงานอย่างอื่น
    3.ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์
    4.ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ำแต่ยังสูงกว่าภาษาเครื่อง 1 ระดับ เป็นภาษาที่ใช้รหัสช่วยจำแทนคำสั่งภาษาครื่องซึ่งใช้ตัวเลขและเป็นภาษาที่ยาวและอ่านยากกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซี หรือภาษาเบสิก แต่ภาษาแอสเซมบลีจะทำงานได้เร็วกว่าและใช้เนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาอื่นๆ
    5.มี7ประเภท ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java) เป็นต้น

  14. 1.ความหมายของซอฟต์แวร์ ตอบ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    2. ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่อะไร ตอบ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ 2 หน้าที่ใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ 1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง
    2. จัดสรรทรัพยากรซึ่งใช้ร่วมกัน (shared resources) ความหมายของหน้าที่นี้จะเห็นได้ชัดในเครื่องระดับใหญ่ (mainframe) ซึ่ง่จะมีอุปกรณ์ต่างๆ จำพวกหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ฯลฯ ซึ่งมีสมรรถนะ หรือขนาดใหญ่ เกินความจำเป็นของงานแต่ละงาน จึงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกัน ในลักษณะของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) หน้าที่ของระบบปฏิบิตการ จึงต้องครอบคลุม ถึงการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้ เพื่อขจัดความขัดแย้ง โดยคำนึงถึงความยุติธรรมต่อผู้ใช้แต่ละคน และประสิทธิผลของเครื่องเป็นหลักสำคัญ
    3.จงบอกประโยชน์ของซอฟแวร์จัดการฐานข้อมูล ตอบ จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้
    -ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    -ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลโดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    -เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    -นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    -ควบคุมข้อบังคับต่างๆของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล
    4.แอสเซมบลีเป็นภาษาระดับใด และมีลักษณะอย่างไร ตอบ คือ ภาษาระดับต่ำ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน
    5. ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมี 9 ประเภท ได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4 ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  15. 1 การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งซอฟต์แวร์

    2 ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง

    3 จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้

    – ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล

    4 ภาษาแอสเซมบลี้ก็คือภาษาระดับต่ำภาษาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งพื้นฐานง่ายๆประกอบไปด้วย ตัวเลขฐาน16จำนวน2หลักตั้งแต่คำสั่ง 00 ไปจนถึงคำสั่ง FF แต่ก็ไม่ใช่ระดับต่ำที่สุด ภาษาระดับต่ำที่สุดก็คือภาษาเครื่องซึ่งจะประกอบไปด้วยตัวเลขสองตัวเท่านั้นคือ 0 กับ 1 ซึ่งการที่คอมพิวเตอร์จะประมวลผลได้นั้นคอมพิวเตอร์จะต้องทำการแปลภาษาระดับสูงลงมาเป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานนั้นๆได้

    แต่การแปลงภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาแอสเซมบลี นี่ก็ไม่เข้าใจเหมือนกันว่าจะแปลงไปเพื่ออะไร ??

    ปกติแล้วเมื่อภาษาระดับสูงถูกคอมไพล์(เป็นการแปลงให้อยู่ในรูปภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องสามารถทำงานได้ที่ความเร็วสูงสุดเนื่องจากไม่ต้องมาเสียเวลาแปลงใหม่ซ้ำอีก) เหล่าแฮกเกอร์จะใช้โปรแกรมเฉพาะทางทำการแปลงโค้ดภาษาเครื่องกลับขึ้นมาเป็นภาษาแอสเซมบลี้(เนื่องจากแปลงกลับได้ง่ายสุดเพราะเป็นภาษาระดับต่ำ) เพื่อให้สามารถทำการแก้ไขโปรแกรมตัวนั้นๆได้อีกครั้ง เพื่อจุดประสงค์บางอย่าง (อย่างพวกโปรแกรมที่เราขโมยมาใช้กันฟรีๆแผ่นล่ะ100บาท ก็ใช้วิธีพวกนี้)

    5 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
    ภาษาคอมพิวเตอร์เริ่มมาจากในมหาวิทยาลัย หรือในหน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องการทำงานบางอย่าง นอกจากนี้ บางภาษาเกิดขึ้นเพราะความต้องการด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ อีกมากมาย ทำให้มีภาษาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก

    จากการที่มีภาษาจำนวนมาก มายนั้น ทำให้ต้องกำหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการแบ่งประเภทของภาษาเหล่านั้น การกำหนดว่าเป็นภาษาระดับต่ำหนือภาษาระดับสูง จะขึ้นอยู่กับภาษานั้นใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับต่ำ) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้ (ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษาระดับสูง)

    ภาษาเครื่อง (Machine Language)
    ก่อนปีค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำที่สุด เพราะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล และคำสั่งต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือปต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำสั่งเฉพาะของตนเอง ซึ่งนักคำนวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลข เพื่อแทนคำสั่งต่า ๆ ทำให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก นักคอมพิวเตอร์จึงได้พัฒนาภาษาแอสเซมบลีขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนโปรแกรม ได้ง่ายขึ้น

    ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
    ต่อมาในปีค.ศ. 1952 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมภาษาระดับต่ำตัวใหม่ ชื่อภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็นคำแทนคำสั่งภาษาเครื่อง ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียนโปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่น ๆ ในสมัยนี้ แต่ถ้าเปรียบเทียบในสมัยนั้นก็ถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุคของการเขียน โปรแกรมแบบใหม่ คือใช้สัญลักษณ์แทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็นคำสั่งสั้น ๆ ที่จะได้ง่าย เรียกว่า นิมอนิกโคด (mnemonic code)
    ภาษาระดับสูง (High Level Language)
    ในปีค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้น ภาษาระดับสูงจะใช้คำในภาษาอังกฤษแทนคำสั่งต่าง ๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วย ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทางแก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ต้องเป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทำงานอย่างไรอีกต่อไป

    ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็น ภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทำให้เกิดการประมวลผลข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างมหาศาลระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และมีผู้หันมาใช้คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น โดยสังเกตได้จามเครื่องเมนเฟรมจากจำนวนร้อยเครื่องเพิ่มขึ้นเป็นหมื่น เครื่อง อย่างไรก็ตาม ภาษาระดับสูงก็ยังคงต้องการตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อสั่งให้ เครื่องทำงานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้งานกันโดยทั่วไปจะเป็นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ไม่เหมือนกัน รวมทั้งคอมไพเลอร์แต่ละตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่องแต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้องเลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทำงานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่องที่ต่างกันอาจจะแตกต่างกันได้ เพราะคอมไพเลอร์ที่ใช้ต่างกันนั่นเอง

    ภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษาได้ถูออ แบบมาให้ใช้แก้ปัญหางานเฉพาะบางอย่าง เช่น การควบคุมหุ่นยนต์ การสร้างภาพกราฟฟิก เป็นต้น แต่ภาษาคอมพิวเตอร์โดยมากจะมีความยืดหยุ่นให้ใช้งานทั่ว ๆ ไปได้ เช่น ภาษา BASIC ภาษา COBOL หรือภาษา FORTRAN เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีภาษา C ที่ได้รับความนิยมมากเช่นกัน

    ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language)
    เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้สั้นกว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การทำงานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้น ในขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษา อาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้นฐานแล้ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษาใยุคก่อน ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของ การเขียนโปรแกรมแบบโพรซีเยอร์ (procedurl language) ในขณะที่ภาษาในยุคที่ 4 จะเป็นแบบ ไม่ใช้โพรซีเยอร์ (nonprocedurl language) ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กำหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทำอะไรบ้างก็สามารถเขียน โปรแกรมได้ทันที โดยไม่ต้องทราบว่าทำได้อย่างไร ทำให้การเขียนโปรแกรมสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว

    ภาษาธรรมชาติ (Nature Language)
    เป็น ภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรือ 5GLs ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคำหรือประโยค ตามที่ผู้ใช้เข้าใจ ซึ่งจะทำให้มีรูปแบบของคำสั่งหรือประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะผู้ใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คำศัพท์ต่างกัน หรือแม้กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคำหรือประโยคเหล่านั้นตามคำสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็จะมีคำถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู้ (knowledge base system) ช่วยในการแปลความหมายของคำสั่งต่าง ๆ

  16. ตอบ1.ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    ตอบ2.ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ
    ตอบ3.- ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล
    ตอบ4.ภาษาระดับสูง
    ตอบ5.9ประเภทได้แก่ 1.ภาษาฟอร์แทรน 2.ภาษาโคบอล 3.ภาษาเบสิก 4.ภาษาปาสคาล 5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส 6.ภาษาวิชวลเบสิก 7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ 8.ภาษาจาวา 9.ภาษาเดลฟาย

  17. 1. ตอบ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    2. ตอบ ระบบปฏิบัติการทำหน้าที่ประสานงานหรือกำกับดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดว่าจะเก็บโปรแกรมหรือข้อมูลเก็บไว้ในส่วนใดของหน่วยความจำ ดูแลการติดต่อระหว่างส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กับโปรแกรมใช้งานหรือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการส่งสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ขึ้นไปปรากฏบนจอภาพ ควบคุมการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ ตัวอย่างเช่น ควบคุมการแปลสัญญาณจากแป้นพิมพ์ให้เครื่องรับรู้ ควบคุมการบันทึกหรือการอ่านข้อมูลของเครื่องขับแผ่นบันทึก
    3. ตอบ ประโยชน์ของการใช้ฐานข้อมูลจะช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย เป็นต้น
    4. ตอบ ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ดังนั้นบางครั้งจึงเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอิงเครื่อง (machine – oriented language) ตัวอย่างของภาษาระดับต่ำได้แก่ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน เช่น ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นต้น การใช้คำเหล่านี้ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้นกว่าการใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นตัวเลขล้วน ตารางที่ 5.1 แสดงตัวอย่างของภาษาระดับต่ำและภาษาเครื่องที่สั่งให้มีการบวกจำนวนที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำ
    5. ตอบ โปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่น โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเครื่อง คำสั่งหนึ่งคำสั่งในภาษาระดับสูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องหลายคำสั่ง
    ภาษาระดับสูงที่จะกล่าวถึงในที่นี้ ได้แก่
    (1) ภาษาฟอร์แทรน
    (2) ภาษาโคบอล
    (3) ภาษาเบสิก
    (4) ภาษาปาสคาล (Pascal)
    (5) ภาษาซีและซีพลัสพลัส (C และ C++)
    (6) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic)
    (7) การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ (visual programing)
    (8)ภาษาจาวา (JAVA)
    (9) ภาษาเดลไฟล์ (Delphi)

  18. ตอบ1.ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    ตอบ2.ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ
    ตอบ3.- ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล
    ตอบ4.ภาษาระดับสูง
    ตอบ5.9ประเภทได้แก่ 1.ภาษาฟอร์แทรน 2.ภาษาโคบอล 3.ภาษาเบสิก 4.ภาษาปาสคาล 5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส 6.ภาษาวิชวลเบสิก 7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ 8.ภาษาจาวา 9.ภาษาเดลฟาย

  19. 1 การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งซอฟต์แวร์

    2 ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง

    3 จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้

    – ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล

    4 ภาษาแอสเซมบลี้ก็คือภาษาระดับต่ำภาษาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งพื้นฐานง่ายๆประกอบไปด้วย ตัวเลขฐาน16จำนวน2หลักตั้งแต่คำสั่ง 00 ไปจนถึงคำสั่ง FF แต่ก็ไม่ใช่ระดับต่ำที่สุด ภาษาระดับต่ำที่สุดก็คือภาษาเครื่องซึ่งจะประกอบไปด้วยตัวเลขสองตัวเท่านั้นคือ 0 กับ 1 ซึ่งการที่คอมพิวเตอร์จะประมวลผลได้นั้นคอมพิวเตอร์จะต้องทำการแปลภาษาระดับสูงลงมาเป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานนั้นๆได้

    แต่การแปลงภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาแอสเซมบลี นี่ก็ไม่เข้าใจเหมือนกันว่าจะแปลงไปเพื่ออะไร ??

    ปกติแล้วเมื่อภาษาระดับสูงถูกคอมไพล์(เป็นการแปลงให้อยู่ในรูปภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องสามารถทำงานได้ที่ความเร็วสูงสุดเนื่องจากไม่ต้องมาเสียเวลาแปลงใหม่ซ้ำอีก) เหล่าแฮกเกอร์จะใช้โปรแกรมเฉพาะทางทำการแปลงโค้ดภาษาเครื่องกลับขึ้นมาเป็นภาษาแอสเซมบลี้(เนื่องจากแปลงกลับได้ง่ายสุดเพราะเป็นภาษาระดับต่ำ) เพื่อให้สามารถทำการแก้ไขโปรแกรมตัวนั้นๆได้อีกครั้ง เพื่อจุดประสงค์บางอย่าง (อย่างพวกโปรแกรมที่เราขโมยมาใช้กันฟรีๆแผ่นล่ะ100บาท ก็ใช้วิธีพวกนี้)

    5 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
    ภาษาคอมพิวเตอร์เริ่มมาจากในมหาวิทยาลัย หรือในหน่วยงานของรัฐบาลที่ต้องการทำงานบางอย่าง นอกจากนี้ บางภาษาเกิดขึ้นเพราะความต้องการด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ อีกมากมาย ทำให้มีภาษาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก

    จากการที่มีภาษาจำนวนมาก มายนั้น ทำให้ต้องกำหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการแบ่งประเภทของภาษาเหล่านั้น การกำหนดว่าเป็นภาษาระดับต่ำหนือภาษาระดับสูง จะขึ้นอยู่กับภาษานั้นใกล้เคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับต่ำ) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้ (ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษาระดับสูง)

    ภาษาเครื่อง (Machine Language)
    ก่อนปีค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำที่สุด เพราะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล และคำสั่งต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือปต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำสั่งเฉพาะของตนเอง ซึ่งนักคำนวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลข เพื่อแทนคำสั่งต่า ๆ ทำให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมาก นักคอมพิวเตอร์จึงได้พัฒนาภาษาแอสเซมบลีขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนโปรแกรม ได้ง่ายขึ้น

    ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
    ต่อมาในปีค.ศ. 1952 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมภาษาระดับต่ำตัวใหม่ ชื่อภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็นคำแทนคำสั่งภาษาเครื่อง ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียนโปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่น ๆ ในสมัยนี้ แต่ถ้าเปรียบเทียบในสมัยนั้นก็ถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุคของการเขียน โปรแกรมแบบใหม่ คือใช้สัญลักษณ์แทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็นคำสั่งสั้น ๆ ที่จะได้ง่าย เรียกว่า นิมอนิกโคด (mnemonic code)
    ภาษาระดับสูง (High Level Language)
    ในปีค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้น ภาษาระดับสูงจะใช้คำในภาษาอังกฤษแทนคำสั่งต่าง ๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ด้วย ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทางแก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ต้องเป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทำงานอย่างไรอีกต่อไป

    ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็น ภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทำให้เกิดการประมวลผลข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างมหาศาลระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และมีผู้หันมาใช้คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น โดยสังเกตได้จามเครื่องเมนเฟรมจากจำนวนร้อยเครื่องเพิ่มขึ้นเป็นหมื่น เครื่อง อย่างไรก็ตาม ภาษาระดับสูงก็ยังคงต้องการตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อสั่งให้ เครื่องทำงานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้งานกันโดยทั่วไปจะเป็นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ไม่เหมือนกัน รวมทั้งคอมไพเลอร์แต่ละตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่องแต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้องเลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทำงานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่องที่ต่างกันอาจจะแตกต่างกันได้ เพราะคอมไพเลอร์ที่ใช้ต่างกันนั่นเอง

    ภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษาได้ถูออ แบบมาให้ใช้แก้ปัญหางานเฉพาะบางอย่าง เช่น การควบคุมหุ่นยนต์ การสร้างภาพกราฟฟิก เป็นต้น แต่ภาษาคอมพิวเตอร์โดยมากจะมีความยืดหยุ่นให้ใช้งานทั่ว ๆ ไปได้ เช่น ภาษา BASIC ภาษา COBOL หรือภาษา FORTRAN เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีภาษา C ที่ได้รับความนิยมมากเช่นกัน

    ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language)
    เป็นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้สั้นกว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การทำงานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้น ในขณะที่ถ้าเขียนด้วยภาษา อาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้นฐานแล้ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษาใยุคก่อน ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของ การเขียนโปรแกรมแบบโพรซีเยอร์ (procedurl language) ในขณะที่ภาษาในยุคที่ 4 จะเป็นแบบ ไม่ใช้โพรซีเยอร์ (nonprocedurl language) ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่กำหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทำอะไรบ้างก็สามารถเขียน โปรแกรมได้ทันที โดยไม่ต้องทราบว่าทำได้อย่างไร ทำให้การเขียนโปรแกรมสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว

    ภาษาธรรมชาติ (Nature Language)
    เป็น ภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรือ 5GLs ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคำหรือประโยค ตามที่ผู้ใช้เข้าใจ ซึ่งจะทำให้มีรูปแบบของคำสั่งหรือประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะผู้ใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คำศัพท์ต่างกัน หรือแม้กระทั่งบางคนอาจจะใช้ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคำหรือประโยคเหล่านั้นตามคำสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็จะมีคำถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู้ (knowledge base system)

  20. 1. ตอบ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    2. ตอบ ระบบปฏิบัติการทำหน้าที่ประสานงานหรือกำกับดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดว่าจะเก็บโปรแกรมหรือข้อมูลเก็บไว้ในส่วนใดของหน่วยความจำ ดูแลการติดต่อระหว่างส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กับโปรแกรมใช้งานหรือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการส่งสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ขึ้นไปปรากฏบนจอภาพ ควบคุมการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ ตัวอย่างเช่น ควบคุมการแปลสัญญาณจากแป้นพิมพ์ให้เครื่องรับรู้ ควบคุมการบันทึกหรือการอ่านข้อมูลของเครื่องขับแผ่นบันทึก
    3. ตอบ ประโยชน์ของการใช้ฐานข้อมูลจะช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย เป็นต้น
    4. ตอบ ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ดังนั้นบางครั้งจึงเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอิงเครื่อง (machine – oriented language) ตัวอย่างของภาษาระดับต่ำได้แก่ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน เช่น ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นต้น การใช้คำเหล่านี้ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้นกว่าการใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นตัวเลขล้วน ตารางที่ 5.1 แสดงตัวอย่างของภาษาระดับต่ำและภาษาเครื่องที่สั่งให้มีการบวกจำนวนที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำ
    5. ตอบ โปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่น โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเครื่อง คำสั่งหนึ่งคำสั่งในภาษาระดับสูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องหลายคำสั่ง
    ภาษาระดับสูงที่จะกล่าวถึงในที่นี้ ได้แก่
    (1) ภาษาฟอร์แทรน
    (2) ภาษาโคบอล
    (3) ภาษาเบสิก
    (4) ภาษาปาสคาล (Pascal)
    (5) ภาษาซีและซีพลัสพลัส (C และ C++)
    (6) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic)
    (7) การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ (visual programing)
    (8)ภาษาจาวา (JAVA)
    (9) ภาษาเดลไฟล์ (Delphi)

  21. 1.จงบอกความหมายของซอฟต์แวร์
    ตอบ ซอฟต์แวร์ หมายถึง การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งซอฟต์แวร์ ทำนองเดียวกันเมื่อซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่องกราดตรวจอ่านรหัสแท่งบนสินค้าทำให้บนจอภาพปรากฏชื่อสินค้า รหัสสินค้า และราคา ในการดำเนินการนี้ต้องใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานได้ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

    2. ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่อะไร
    ตอบ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ 2 หน้าที่ใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ
    1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล (input/output device) รวมถึงการเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ อย่างสะดวก หน้าที่นี้เป็นหลักสำคัญ ซึ่งจะขาดเสียมิได้ในระบบปฏิบัติการทุกรูปแบบ ตั้งแต่เครื่องเล็กไปจนถึงเครื่องใหญ่ สำหรับในเครื่องเล็ก (microcomputer) ระบบปฏิบัติการจะเป็นแบบง่ายๆ และทำหน้าที่ควบคุม ในลักษณะนี้เพียงอย่างเดียว จึงมักเรียกกันว่าเป็น โปรแกรมควบคุม (control programหรือ CP) จุดประสงค์ของหน้าที่นี้ คือ การให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่อง
    2. จัดสรรทรัพยากรซึ่งใช้ร่วมกัน (shared resources) ความหมายของหน้าที่นี้จะเห็นได้ชัดในเครื่องระดับใหญ่ (mainframe) ซึ่ง่จะมีอุปกรณ์ต่างๆ จำพวกหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ฯลฯ ซึ่งมีสมรรถนะ หรือขนาดใหญ่ เกินความจำเป็นของงานแต่ละงาน จึงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกัน ในลักษณะของระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) หน้าที่ของระบบปฏิบิตการ จึงต้องครอบคลุม ถึงการจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้ เพื่อขจัดความขัดแย้ง โดยคำนึงถึงความยุติธรรมต่อผู้ใช้แต่ละคน และประสิทธิผลของเครื่องเป็นหลักสำคัญ

    3. จงบอกประโยชน์ของซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
    ตอบ จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูล จะเห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของซอฟต์แวร์ดีบีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์นี้ สรุปได้ดังนี้
    – ควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูล
    – ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดระดับของการเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง
    – เตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แม้ในกรณีที่มีผู้ใช้หลายๆคนพร้อมกัน
    – นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี
    – ควบคุมข้อบังคับต่างๆ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
    – ดูแลส่วนการสำรองข้อมูล (Back up) และการกู้ข้อมูล (Recovery) ของฐานข้อมูล

    4. แอสเซมบลีเป็นภาษาระดับใด และมีลักษณะอย่างไร
    ตอบ คือ ภาษาระดับต่ำ ภาษาแอสแซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คำในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคำสั่งให้เครื่องทำงาน

    5. ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
    ตอบ ตัวแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องมี 9 ประเภท ได้แก่
    1.ภาษาฟอร์แทรน
    2.ภาษาโคบอล
    3.ภาษาเบสิก
    4 ภาษาปาสคาล
    5.ภาษาซีและซีพลัสพลัส
    6.ภาษาวิชวลเบสิก
    7.การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
    8.ภาษาจาวา
    9.ภาษาเดลฟาย

  22. อยากไห้สอนตั้งแต่การทำความรู้จักปุ่มต่างๆของคอมพ์ว่าปุม่ไหนมีหน้าที่ทำอะไรและชื่อปุ่มอะไร

    • อยากสอนตั้งแต่พื้นฐานครับ แต่เนื้อหามันมากต้องเรียนในเนื้อหาก่อนนะครับ พื้นฐานครูคิดว่านักเรียนศึกษาเพิ่มเติมได้ครับ

ส่งความเห็นที่ สุทธิดา รักษาสระน้อย ยกเลิกการตอบ